Skip to main content

สังคมวิทยา เนื้อหา ประวัติ ดูเพิ่ม อ้างอิง แหล่งข้อมูลอื่น รายการเลือกการนำทาง"Sociology""An Introduction to Sociology"เครือข่ายสังคมวิทยา-มานุษยวิทยาInternational Sociological AssociationThe Sociolog. Comprehensive Guide to SociologyResources for methods in social researchAnalysing and Overcoming the Sociological Fragmentation in Europeคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาคณะสังคมศาสตร์ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์คณะสังคมศาสตร์คณะสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์คณะสังคมศาสตร์คณะมนุษยศาสตร์คณะโบราณคดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์คณะสังคมศาสตร์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์คณะศิลปศาสตร์คณะสังคมศาสตร์ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา

สังคมศาสตร์สังคมวิทยา


ชีวิตมนุษย์สังคมกฎเกณฑ์กระบวนการทางสังคมปัจเจกสมาคมกลุ่มสถาบันการพบปะกันกระบวนการทางสังคมในระดับโลกสังคมศาสตร์เศรษฐศาสตร์รัฐศาสตร์มานุษยวิทยาจิตวิทยาความรู้ศิลปะปรัชญาคริสต์ศตวรรษที่ 19ความเป็นสมัยใหม่modernityการปฏิวัติทางอุตสาหกรรมชนชั้นนายทุนเจ้าขุนมูลนายวิทยาศาสตร์ธรรมชาติออกุสต์ คองต์Auguste Comteภาษาละตินประวัติศาสตร์จิตวิทยาเศรษฐศาสตร์คริสต์ศตวรรษที่ 18เฮอร์เบิร์ต สเปนเซอร์Herbert Spencerสหรัฐอเมริกาพ.ศ. 2433มหาวิทยาลัยชิคาโกพ.ศ. 2435ฝรั่งเศสพ.ศ. 2438อีมิล เดอร์ไคหม์เยอรมนีพ.ศ. 2462มักซ์ เวเบอร์โปแลนด์พ.ศ. 2463สหราชอาณาจักรสงครามโลกครั้งที่สองคาร์ล มาร์กซเฟอร์ดินานด์ โทเอนนีส์Ferdinand Toenniesอีมิล เดอร์ไคหม์วิลเฟรดโด ปาเรโตVilfredo Paretoมักซ์ เวเบอร์ศาสนาการศึกษาเศรษฐศาสตร์จิตวิทยาศีลธรรมปรัชญาเทววิทยาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติฟิสิกส์ชีววิทยาระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์เทววิทยาอภิปรัชญาปฏิฐานนิยมธรรมชาตินิยมวิลเฮม ดิลธีไฮน์ริช ริคเคอร์ตความหมายสัญลักษณ์กฎบรรทัดฐานคุณค่าวัฒนธรรมอปฏิฐานนิยมantipositivismมนุษย์นิยมเชิงจิตวิสัยเชิงวัตถุวิสัยอรรถปริวรรตศาสตร์










(function()var node=document.getElementById("mw-dismissablenotice-anonplace");if(node)node.outerHTML="u003Cdiv class="mw-dismissable-notice"u003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-close"u003E[u003Ca tabindex="0" role="button"u003Eปิดu003C/au003E]u003C/divu003Eu003Cdiv class="mw-dismissable-notice-body"u003Eu003Cdiv id="localNotice" lang="th" dir="ltr"u003Eu003Cp class="mw-empty-elt"u003Eu003C/pu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003Eu003C/divu003E";());




สังคมวิทยา




จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี






ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา




สังคมวิทยา (อังกฤษ : sociology) คือ วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับชีวิตทางสังคมของมนุษย์, กลุ่มคน, และสังคม สิ่งที่สาขาวิชานี้สนใจคือ กฎเกณฑ์ และกระบวนการทางสังคม ที่ยึดเหนี่ยวหรือแบ่งแยกผู้คน ทั้งในสภาวะที่เป็นปัจเจก และในฐานะของสมาชิกของสมาคม, กลุ่ม, หรือสถาบัน[1][2][3][4]


สังคมวิทยาสนใจพฤติกรรมมนุษย์ ในฐานะที่เป็นสิ่งมีชีวิตทางสังคม ดังนั้นการศึกษาทางด้านนี้ จึงครอบคลุมตั้งแต่การวิเคราะห์การพบปะกันของคนที่ไม่รู้จักกันบนท้องถนน ไปจนถึงการศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการทางสังคมในระดับโลก




เนื้อหา





  • 1 ประวัติ


  • 2 ดูเพิ่ม


  • 3 อ้างอิง


  • 4 แหล่งข้อมูลอื่น

    • 4.1 คณะและภาควิชาในมหาวิทยาลัยไทย





ประวัติ


เมื่อเทียบกับสาขาวิชาอื่น ๆ ในสังคมศาสตร์ เช่น เศรษฐศาสตร์, รัฐศาสตร์, มานุษยวิทยา, หรือจิตวิทยา วิชาสังคมวิทยาจัดเป็นสาขาวิชาที่ค่อนข้างใหม่ อย่างไรก็ตาม ประวัติของการศึกษาด้านนี้ สามารถสืบสาวไปได้ยาวนานโดยมีรากฐานมาจากความรู้ทั่วไปของมนุษย์, ผลงานทางศิลปะ, และปรัชญา


การศึกษาสังคม ในลักษณะที่เป็นสาขาวิชาที่ใช้หลักวิทยาศาสตร์ เริ่มขึ้นเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งมีปัจจัยกระตุ้นหลักจากสภาวะความเป็นสมัยใหม่ (modernity) อันเป็นผลมาจากทั้งการปฏิวัติทางอุตสาหกรรม และพัฒนาการทางการเมือง ผลก็คือสภาพสังคมในยุคนั้น เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมากมาย เช่น เกิดการขยายตัวของเมือง หรือการที่ชนชั้นนายทุนเข้ามามีอำนาจแทนที่เจ้าขุนมูลนาย. ความเปลี่ยนแปลงนี้ ทำให้นักคิดหลายคนพยายามทำความเข้าใจกับสิ่งที่เกิดขึ้น โดยอาศัยวิธีคิดวิเคราะห์เช่นเดียวกับการศึกษาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ


ผู้ที่บัญญัติคำว่า sociology คือ ออกุสต์ คองต์ (Auguste Comte) โดยมีรากศัพท์มาจาก socius ซึ่งเป็นภาษาละตินแปลว่า กลุ่มคน และคำว่า logia แปลว่า การศึกษา คองต์ตั้งเป้าว่าจะเชื่อมรวมศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับมนุษย์ทั้งหมด รวมทั้งประวัติศาสตร์, จิตวิทยา, และเศรษฐศาสตร์. สังคมวิทยาของเขานั้น มีลักษณะร่วมสมัยกับความคิดในคริสต์ศตวรรษที่ 18 กล่าวคือ เขาเชื่อว่าวิวัฒนาการทางสังคมจะมีลักษณะเป็นลำดับขั้น และถ้าเข้าใจลำดับกระบวนการนี้ได้ ก็จะสามารถชี้ทางแก้ปัญหาสังคมได้ด้วย


หนังสือเล่มแรกที่ใช้คำว่า 'สังคมวิทยา' ในชื่อหนังสือเขียนขึ้นในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดย เฮอร์เบิร์ต สเปนเซอร์ (Herbert Spencer) นักปรัชญาชาวอังกฤษ. ในสหรัฐอเมริกา มีการเรียนการสอนวิชาสังคมวิทยาครั้งแรกที่ มหาวิทยาลัยแห่งรัฐแคนซัส ลอว์เร็นซ์ (University of Kansas, Lawrence) เมื่อ พ.ศ. 2433 (ค.ศ. 1890). สำหรับภาควิชาสังคมวิทยาแบบเต็มรูปแบบที่แรกนั้น ตั้งขึ้นที่ มหาวิทยาลัยชิคาโก โดย Albion W. Small ในปี พ.ศ. 2435 (ค.ศ. 1892) ที่สหรัฐอเมริกา. ส่วนในฝั่งยุโรป ภาควิชาสังคมวิทยาถูกตั้งเป็นที่แรก ที่ฝรั่งเศส เมื่อ พ.ศ. 2438 (ค.ศ. 1895) โดย อีมิล เดอร์ไคหม์ (Emile Durkheim) ในมหาวิทยาลัยบอร์โดซ์ (University of Bordeaux), และต่อมาที่เยอรมนี เมื่อ พ.ศ. 2462 (ค.ศ. 1919) โดย มักซ์ เวเบอร์ (Max Weber) ที่ มหาวิทยาลัยมิวนิก (Lugwig Maximilians University of Munich), และที่โปแลนด์ เมื่อ พ.ศ. 2463 (ค.ศ. 1920) โดย Florian Znaniecki. ส่วนในสหราชอาณาจักร ภาควิชาสังคมวิทยาแห่งแรกนั้น ก่อตั้งภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง


นักทฤษฎีทางสังคมวิทยาในยุคบุกเบิกตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ได้แก่ คาร์ล มาร์กซ, เฟอร์ดินานด์ โทเอนนีส์ (Ferdinand Toennies), อีมิล เดอร์ไคหม์, วิลเฟรดโด ปาเรโต (Vilfredo Pareto) และ มักซ์ เวเบอร์. ในลักษณะเช่นเดียวกับคองต์ นักคิดเหล่านี้ไม่มีใครเรียกตนเองว่าเป็น 'นักสังคมวิทยา' แท้ๆ งานของพวกเขาศึกษาตั้งแต่เรื่อง ศาสนา การศึกษา เศรษฐศาสตร์ จิตวิทยา ศีลธรรม ปรัชญา และ เทววิทยา. อย่างไรก็ตาม ยกเว้นเพียงมาร์กซ์เท่านั้น ผลงานของพวกเขาที่มีผลมาจนถึงทุกวันนี้ก็เป็นทางด้านสังคมวิทยา และทฤษฎีของพวกเขาหลายๆ อันก็ยังสามารถใช้อธิบายปรากฏการณ์ปัจจุบันได้


เมื่อเริ่มแรก การศึกษาด้านสังคมวิทยาถูกมองว่า ไม่ต่างจากการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ เช่น ฟิสิกส์ หรือ ชีววิทยา ดังนั้นเหล่านักคิดด้านสังคมจึงได้นำวิธีการ รวมถึงระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์มาใช้ โดยแทบไม่มีการปรับเปลี่ยน แนวทางดังกล่าวที่เน้นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และผลลัพธ์ที่วัดได้ ทำให้สาขาสังคมวิทยาแตกต่างจาก เทววิทยา หรือ อภิปรัชญา แนวคิดนี้ได้รับการสนับสนุนโดยคองต์ ทำให้เกิดระเบียบวิธีวิจัยที่เรียกว่า ปฏิฐานนิยม โดยมีรากฐานมาจากปรัชญาสายธรรมชาตินิยม


กระทั่งสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 นักวิทยาศาสตร์เช่น วิลเฮม ดิลธี หรือ ไฮน์ริช ริคเคอร์ต ก็ได้ตั้งข้อสงสัยกับการนำแนวคิดปฏิฐานนิยมและธรรมชาตินิยม มาใช้ในการศึกษาสังคม โดยกล่าวว่า โลกธรรมชาตินั้นแตกต่างจากโลกของสังคม ทั้งนี้เนื่องจากสังคมมนุษย์มีลักษณะหนึ่งเดียวบางประการ เช่น การให้ความหมาย, การใช้สัญลักษณ์, การตั้งกฎเกณฑ์และบรรทัดฐาน, และการให้คุณค่า โดยทั้งหมดนี้รวมเรียกว่าเป็นวัฒนธรรม มุมมองนี้ได้ถูกพัฒนาต่อโดย แมกซ์ เวเบอร์ ผู้นำแนวคิดอปฏิฐานนิยม (antipositivism) หรือสังคมวิทยาแนวมนุษย์นิยม ซึ่งวางอยู่บนหลักการที่ว่า สังคมวิทยาต้องมุ่งศึกษาเกี่ยวกับมนุษย์และคุณค่าทางวัฒนธรรม นี่ทำให้เกิดข้อถกเถียง เกี่ยวกับการแบ่งแยกระหว่างงานวิจัยเชิงจิตวิสัยและงานวิจัยเชิงวัตถุวิสัย และก่อให้เกิดการศึกษาด้านอรรถปริวรรตศาสตร์ (hermeneutics)



ดูเพิ่ม


  • ทฤษฎีความผูกพัน

  • ประวัติสังคมวิทยา


อ้างอิง




  1. sociology. (n.d.). The American Heritage Science Dictionary. ดึงข้อมูลเมื่อ 25 มิถุนายน 2560, จากเว็บไซต์ Dictionary.com: http://dictionary.reference.com/browse/sociology


  2. "Sociology" (PDF). Pasadena City College..mw-parser-output cite.citationfont-style:inherit.mw-parser-output qquotes:"""""""'""'".mw-parser-output code.cs1-codecolor:inherit;background:inherit;border:inherit;padding:inherit.mw-parser-output .cs1-lock-free abackground:url("//upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/6/65/Lock-green.svg/9px-Lock-green.svg.png")no-repeat;background-position:right .1em center.mw-parser-output .cs1-lock-limited a,.mw-parser-output .cs1-lock-registration abackground:url("//upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/d/d6/Lock-gray-alt-2.svg/9px-Lock-gray-alt-2.svg.png")no-repeat;background-position:right .1em center.mw-parser-output .cs1-lock-subscription abackground:url("//upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/a/aa/Lock-red-alt-2.svg/9px-Lock-red-alt-2.svg.png")no-repeat;background-position:right .1em center.mw-parser-output .cs1-subscription,.mw-parser-output .cs1-registrationcolor:#555.mw-parser-output .cs1-subscription span,.mw-parser-output .cs1-registration spanborder-bottom:1px dotted;cursor:help.mw-parser-output .cs1-hidden-errordisplay:none;font-size:100%.mw-parser-output .cs1-visible-errorfont-size:100%.mw-parser-output .cs1-subscription,.mw-parser-output .cs1-registration,.mw-parser-output .cs1-formatfont-size:95%.mw-parser-output .cs1-kern-left,.mw-parser-output .cs1-kern-wl-leftpadding-left:0.2em.mw-parser-output .cs1-kern-right,.mw-parser-output .cs1-kern-wl-rightpadding-right:0.2em


  3. https://www.colgate.edu/docs/default-source/default-document-library/sociology-a-21st-century-major.pdf?sfvrsn=0


  4. "An Introduction to Sociology". asanet.org.




  • John J. Macionis, Sociology (10th Edition), Prentice Hall, 2004, ISBN 0-13-184918-2


  • Piotr Sztompka, Socjologia, Znak, 2002, ISBN 83-240-0218-9

  • จำนงค์ อดิวัฒน์สิทธิ์ และ คณะ, สังคมวิทยา, 1993, ISBN 974-575-038-7


แหล่งข้อมูลอื่น



  • เครือข่ายสังคมวิทยา-มานุษยวิทยา - Thai Sociology & Anthropology Network

  • International Sociological Association

  • The Sociolog. Comprehensive Guide to Sociology

  • Resources for methods in social research

  • Analysing and Overcoming the Sociological Fragmentation in Europe


คณะและภาควิชาในมหาวิทยาลัยไทย



  • คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


  • ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


  • ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  • ภาควิชาสังคมวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา


  • คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ


  • คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


  • คณะสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล


  • คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


  • คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง


  • คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร


  • คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น


  • คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร


  • คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา


  • คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


  • คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

  • คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์


  • คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ

  • ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย http://www.soc-anp@hi5.com/


  • ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย




ดึงข้อมูลจาก "https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=สังคมวิทยา&oldid=7152743"










รายการเลือกการนำทาง



























(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgPageParseReport":"limitreport":"cputime":"0.204","walltime":"0.283","ppvisitednodes":"value":320,"limit":1000000,"ppgeneratednodes":"value":0,"limit":1500000,"postexpandincludesize":"value":27141,"limit":2097152,"templateargumentsize":"value":94,"limit":2097152,"expansiondepth":"value":7,"limit":40,"expensivefunctioncount":"value":0,"limit":500,"unstrip-depth":"value":1,"limit":20,"unstrip-size":"value":6109,"limit":5000000,"entityaccesscount":"value":0,"limit":400,"timingprofile":["100.00% 205.025 1 -total"," 40.81% 83.671 1 แม่แบบ:Reflist"," 31.85% 65.308 2 แม่แบบ:Cite_web"," 27.77% 56.936 1 แม่แบบ:ลิงก์ไปภาษาอื่น"," 26.22% 53.755 1 แม่แบบ:Ambox"," 23.82% 48.835 1 แม่แบบ:วิทยาศาสตร์สังคม"," 7.72% 15.834 1 แม่แบบ:Navbox_generic"," 1.32% 2.716 1 แม่แบบ:Main_other"],"scribunto":"limitreport-timeusage":"value":"0.071","limit":"10.000","limitreport-memusage":"value":2139549,"limit":52428800,"cachereport":"origin":"mw1271","timestamp":"20190310123047","ttl":2592000,"transientcontent":false););"@context":"https://schema.org","@type":"Article","name":"u0e2au0e31u0e07u0e04u0e21u0e27u0e34u0e17u0e22u0e32","url":"https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2","sameAs":"http://www.wikidata.org/entity/Q21201","mainEntity":"http://www.wikidata.org/entity/Q21201","author":"@type":"Organization","name":"Contributors to Wikimedia projects","publisher":"@type":"Organization","name":"Wikimedia Foundation, Inc.","logo":"@type":"ImageObject","url":"https://www.wikimedia.org/static/images/wmf-hor-googpub.png","datePublished":"2005-01-19T07:07:16Z","dateModified":"2017-08-08T06:03:30Z"(window.RLQ=window.RLQ||[]).push(function()mw.config.set("wgBackendResponseTime":160,"wgHostname":"mw1266"););

Popular posts from this blog

How does Billy Russo acquire his 'Jigsaw' mask? Unicorn Meta Zoo #1: Why another podcast? Announcing the arrival of Valued Associate #679: Cesar Manara Favourite questions and answers from the 1st quarter of 2019Why does Bane wear the mask?Why does Kylo Ren wear a mask?Why did Captain America remove his mask while fighting Batroc the Leaper?How did the OA acquire her wisdom?Is Billy Breckenridge gay?How does Adrian Toomes hide his earnings from the IRS?What is the state of affairs on Nootka Sound by the end of season 1?How did Tia Dalma acquire Captain Barbossa's body?How is one “Deemed Worthy”, to acquire the Greatsword “Dawn”?How did Karen acquire the handgun?

Личност Атрибути на личността | Литература и източници | НавигацияРаждането на личносттаредактиратередактирате

A sequel to Domino's tragic life Why Christmas is for Friends Cold comfort at Charles' padSad farewell for Lady JanePS Most watched News videos